การศึกษาความเหมาะสมเบื้องต้นของการใช้ลิกไนท์จากเหมืองแม่ตีบในการผลิตถ่านโค๊กเทียม = Prefeasibility study on the suitability of formcoke processing from Mae Tip lignite / Nara Pitak-arnnop, Suthiporn Chewasant (CONFIDENTIAL)

โดย: Pitak-arnnop, Nara
ผู้แต่งร่วม: Chewasatn, Sutiporn | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 21-01ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 19 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเหมาะสมเบื้องต้นของการใช้ลิกไนท์จากเหมืองแม่ตีบในการผลิตถ่านโค๊กเทียมหัวเรื่อง: Formcoke | Lampang | Lignite | Mae Tip ligniteสาระสังเขป: Formcoke briquets of acceptable could be produced from 900 degree celsius char, -35 mesh (0.5 mm) particle size, 15% asphalt binder, briquetting pressure ranging from 1,000 to 6,000 psi and heating rate of 8-10 degree celsius/ min to a coking temperature of 900 degree celsius. The strongest formcoke briquets were produced under the same conditions as above except that the briquetting pressure of 2,000 psi was required.สาระสังเขป: Freliminary study of producing formcoke from Mae Tip lignite was made. The important objective was to determine the suitability of using Mae Tip lignite to produce a formcoke of such quality that it meets the requirement of the metallurgical industry and others. Optimum processing conditions at laboratory-scale levels were also determined.สาระสังเขป: One hundred and fifty kg of Mae Tip lignite sample was carbonized at 500 degree celsius and calcined at 90 degree celsius. Cylindrical briquets, 1 inch diameter by 2 inches high, were made from blends of the 900 degree celsius char of -18 and -35mesh (0.5 and 1 mm) particle size and 12, 15 and 18% binder. The briquets were pressed at a sclected pressure ranging fron 1,000 to 6,000 psi. The briquets were then coked at heating rate of 8-10 degree celsius/ min up to a maximum of 900 degree celsius. Chemical and physical properties of formcoke were determined.สาระสังเขป: ได้ทำการศึกษาความเหมาะสมเบื้องต้นในการผลิตถ่านโคณกเทียมจากลิกไนท์เหมืองแม่ตีบ, อำเภองาว, จังหวัดลำปาง ในขั้นห้องปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมโลหะ และอุตสาหกรรมอื่น ๆ, และเพื่อเป็นแนวทางในการผลิตขั้นโรงงานต้นแบบและขั้นอุตสาหกรรม.สาระสังเขป: ตัวอย่างถ่านหินลิกไนท์ประมาณ 150 กก. ได้ทำการคาร์โบไนเซวั่นที่ 500 องศาเซลเซียล และแคลซิเนชั่นที่ 900 องศาเซลเซียส เพื่อให้ได้ถ่านสุกที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการนำมาผลิตถ่านโค๊กเทียมรูปทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว, สูงประมาณ 2 นิ้ว, โดยใช้อัตราส่วนผสมของถ่านสุกขนาด 0.5 และ 1 มม. กับตัวประสาน 12, 15 และ 18%, และแรงอัดก้อนที่ 1,000 2,000, 3,000, 4,000, 5,000 และ 6,000 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว ตามลำดับ. เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของถ่านโค๊กเทียมที่ผลิตได้.สาระสังเขป: ผลของการศึกษาวิจัยปรากฏว่า ถ่านโค๊กเทียมที่มีคุณภาพเหมาะสมที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม ผลิตได้จากถ่านสุกที่ 900 องศาเซลเซียส ขนาด 0.5 มม. ผสมกับตัวประสาน 15%, โดยใช้แรงอัดก้อนระหว่าง 1,000 ถึง 6,000 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว, และเผาให้ร้อนถึง 900 องศาเซลเซียส ด้วยอัตราการเพิ่มอุณหภูมิ 8-10 องศาเซลเซียส ต่อนาที. สำหรับถ่านโค๊กเทียมที่มีคุณภาพดีที่สุดผลิตได้จากกรรมวิธีและสัดส่วนดังกล่าวแล้ว แต่ใช้แรงอัดก้อนเพียง 2,000 ปอนด์ต่อ ตร. นิ้ว.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300