การควบคุมคุณภาพแซนโทฟิลของดอกดาวเรืองหลังการเก็บเกี่ยว = postharvest quality control of xanthophyll content in marigold / Siriphong Pattanavibul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chaimongkol, Somsak | Chaiwipha, Nampeth | Dong Kratok, Cheuan | Jamjumroon, Manat | Neamprem, Sodsri | Pattanavibul, Siriphong | Rattanachai, Yuwadee | Sartpech, Chitta | Suwanagul, Anawat | สดศรี เนียมเปรม | แจ่งจำรูญ, มานัส | สมศักดิ์ ชัยมงคล | น้ำเพชร ชัยวิภา | ดงกระโทก, ชวน | ศิริพงษ์ พัฒนวิบูลย์ | ยุวดี รัตนไชย | สาสตร์เพ็ชร์, จิตตา | อนวัช สุวรรณกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biological Science Research Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 39-03 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1997 รายละเอียดตัวเล่ม: 32 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การควบคุมคุณภาพแซนโทฟิลของดอกดาวเรืองหลังการเก็บเกี่ยวหัวเรื่อง: Asteraceae | Marigolds | Pigments | Postharvest | Quality control | Tagetes spp | Xanthophyllสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Marigold flower after harvested were fermented in a solution of sodium chloride, formic acid, acetic acid or sulfuric acid at various concentrations ranging from 0.5, 1.0 to 2.0 percent (v/v). Tap water was used as a control solution. After 4 weeks of fermentation, flowers were oven dried at 70 degree celsius for 15 to 17 hr, ground and analysed for xanthophyll content. Lowest xanthophyll content was found in the treatment without fermentation at 4.6 g/kg. Higher xanthophyll content were found in all fermentation treatments at all concentrations. Highest xanthophyll content, 7.9 g/kg, was obtained with acetic acid treatment at 0.5 percent concentration. Authors.สาระสังเขป: The objective of this study is to develop postharvest treatment for Marigold flower in order to minimize losses of xanthophyll during subsequent processing steps. Stabilization of xanthophyll pigment by fermentation of freshly harvested Marigold flowers in various solvent solutions were investigated.สาระสังเขป: โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาวิจัยการควบคุมคุณภาพสารแซนโทฟิล (xanthophyll) ของดอกดาวเรืองหลังการเก็บเกี่ยว, และทดลองหมักดอกดาวเรืองเพื่อที่จะไม่ให้สูญเสียปริมาณสารแซนโทฟิล. ดังนั้นจึงทำการทดลองหมักกับสารเคมีชนิดต่างๆ ซึ่งได้แก่ การหมักด้วยน้ำเปล่าและสารเคมีชนิดต่าง ได้แก่ NaCl, formic acid, acetic acid, sulfuric acid ในอัตราที่ 0.5% 1% และ 2% ตามลำดับ. ทำการหมักไว้ 4 สัปดาห์แล้วนำมาอบแห้งที่อุณหภูมิ 70oซ. เป็นเวลา 15-17 ชม. จนแห้ง, และนำมาป่นให้ละเอียด. นำตัวอย่างมาวิเคราะห์หาปริมาณแซนโทฟิล พบว่าดอกดาวเรืองที่ไม่ผ่านการหมักมีปริมาณแซนโทฟิลต่ำสุด คือ 4.4 กรัม/กิโลกรัม. ส่วนดาวเรืองที่ผ่านการหมักในน้ำเปล่า. ในสารละลาย NaCl, formic acid, acetic acid และ sulfuric acid ทุกระดับความเข้มข้น พบว่าให้ปริมาณแซนโทฟิลที่สูงขึ้นในทุกๆ วิธีการ โดยที่การหมักดอกดาวเรือง ด้วยสารละลาย acetic acid ที่ระดับความเข้มข้น 0.5% ให้ปริมาณแซนโทฟิลสูงสุด คือ 7.9 กรัม/กิโลกรัม/น้ำหนักของดอกแห้ง. -ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1997/1000
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1997/1000-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300