การผลิตยีสต์ขนมปังชนิดผงจากน้ำอ้อยในระดับโรงงานต้นแบบ = pilot scale production of instant baker's yeast from sugar-cane juice / Ampon Euraree...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Euraree, Ampon | Fungsin, Bundit | Kamolratanakul, Anchalee | Meploy, Thawal | Sirianuntapiboon, Suntud | Somchai, Praphaisri | Srinorakutara, Pornpattra | Srisawas, Suwanna | อำพล เอื้ออารี | อัญชลี กมลรัตนกุล | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | ถวัลย์ มีพลอย | พรภัทรา ศรีนรคุตร | สุวรรณา ศรีสวัสดิ์ | ศิริอนันต์ไพบูลย์, สันทัด | ประไพศรี สมใจ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-09 Rep. no.2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1993 รายละเอียดตัวเล่ม: 44 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตยีสต์ขนมปังชนิดผงจากน้ำอ้อยในระดับโรงงานต้นแบบหัวเรื่อง: Bakers' yeast | High-test molasses | Molasses | Saccharomyces cerevisiae | Sugarcane | Sugarcane juice | Yeastสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: This project aimed to develop a process for production of instant baker's yeast from sugar-cane products. The selected yeast strain used in pilot scale production was Saccharomyces cerevisiae TISTR 5276. The fresh yeast was produced in a three-stage process. The first stage was a flask culture stage, the second stage was batch fermentation in 14-litre fermenter, while the third stage was fedbatch fermentation in 300-litre fermenter. Four kinds of substrate were compared i.e. fresh sugar-cane juice from the market, sugar-cane juice from the sugar mill, high-test molasses and blackstrap molasses. The yeast solid content obtained from each substrate were 14.60, 12.97, 21.50 and 16.72 g dry wt./1, respectively. Two processes of drying were performed using spray dryer and fluidized-bed dryer. The final moisture content of instant yeasts were 7.16 and 8.61 percent by wt., respectively, and viable cell count existed 1.44 x 10 and 2.01 x 10 cells/g, respectively. For packaging and storage stability study of the instant yeast from fluidized-bed dryer, it was concluded that the best material for making pouch was PET/Al/Ionomer and packing under nitrogen gas atmosphere should be conducted. Authorsสาระสังเขป: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตยีสต์ขนมปังชนิดผงจากอ้อยและน้ำตาล. การผลิตในระดับโรงานต้นแบบใช้ยีสต์ที่คัดเลือกไว้ คือ Saccharomyces cerevisiae สายพันธุ์ TISTR 5276, กระบวนการเลี้ยงเชื้อเป็นแบบ 3 ขั้นตอน. ขั้นตอนแรกเลี้ยงเชื้อในขวดแก้ว, ขั้นตอนที่สองเลี้ยงเชื้อระบบ batch ในถังหมัก 14 ลิตร, และขั้นตอนที่สามเลี้ยงเชื้อระบบ fed-batch ในถังหมัก 300 ลิตร. วัตถุดิบที่ใช้เปรียบเทียบมี 4 ชนิด คือ น้ำอ้อยสดจากตลาด, น้ำอ้อยจากโรงงานน้ำตาล, ไฮเทสต์โมลาส และกากน้ำตาล. ผลผลิตยีสต์สดที่ได้เมื่อคำนวณเป็นน้ำหนักเซลล์แห้งมีดังนี้ : 14.60, 12.97, 21.50 และ 16.72 กรัม/ลิตร ตามลำดับ. การทดลองผลิตยีสต์ผงโดยใช้เครื่อง spray dryer และ fluidizedbed dryer พบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความชื้น 7.16 และ 8.61% โดยน้ำหนัก ตามลำดับ, และเหลือจำนวนเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ 1.44x109 เซลล์/กรัม ตามลำดับ. การศึกษาวัสดุหีบห่อและเสถียรภาพในการเก็บรักษายีสต์ผงจากเครื่อง fluidized-bed dryer พบว่า วัสดุที่เหมาะสมที่สุดที่จะใช้ทำถุงบรรจุคือ PET/A1/Ionomer และควรบรรจุภายใต้สภาวะก๊าซไนโตรเจน. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1993/919
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1993/919-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300