ความเหมาะสมของการผลิตเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วขั้นอุตสาหกรรมนำทาง (PILOT PLANT) = pilot plant study of legume inoculant production / Srivan Chomchalow...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Boonmalison, Decha | Chantarasamee, Manit | Chomchalow, Srivan | Kamolratanakul, Nipon | Piyapongse, Sachee | Poonsawat, Sutep | ศรีวรรณ โฉมเฉลา | นิพนธ์ กมลรัตนกุล | จันทรัศมี, มานิต | เดชา บุญมลิซ้อน | ศจี ปิยะพงศ์ | สุเทพ พูนสวัสดิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agricultural Research Division
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 20-07 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1981 รายละเอียดตัวเล่ม: 46 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ความเหมาะสมของการผลิตเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วขั้นอุตสาหกรรมนำทาง (PILOT PLANT)หัวเรื่อง: Inoculation | Legumes | Mung beans | Nitrogen -- Fixation | Peanuts | Pilot plant | Soybeanสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: From the analysis on investment and finance during the period of 5 years it can be concluded that approximately 3,040,000 Baht have been spent on this project consisting of investment on fixed assest, circulating capital and pre-operating expenses. The investigation has also suggested that the plant should use its own fund since it is difficult to find sources for small-size loan, especially when the industry is only of a pilot nature. The cost of production included not only raw material but also other fixed costs consisting of general operating expenses, depreciation and repairs. It also covered distribution costs and profit taxes. The capacity of the plant was 24 ton/year. Owing to the limited market, the production targets were restricted to 12 and 18 tons a year for the first and second year respectively. An estimate of 24 tons annually was set for each of the third, fourth and fifth year. The analysis has revealed that for the price fixed at 50,000 baht/ton the internal rate of return was comparatively low, being 9,45 per cent, with a break-even of 17.5 ton/year. If the price is increased to 50,000 baht per ton the rate of return will be 15.45 per cent. Thus it may be concluded that the industry is economically feasible for Thailand. However, the market for the product is, as mentioned earlier, rather limited. Thus, efficient public relations service is most essential for this new product. Authors.สาระสังเขป: The TISTR's pilot plant research on legume inoculants has been made for the purpose of market testing and economic analysis in order to obtain data for feasibility study on the possibility of development on a commercial scale. The capacity of the pilot plant was 24 tons per year which are adequate only for 19,200 ha (120,000 rai). The area was less than 10 per cent of the total targeted area for 1981. Experimental results based on monthy checking have indicated that the inoculants for mungbean kept in cold storage at a temperature of 12-15 degree celsius were found to still maintain high productivity on the fifth month, having about 85 per cent nodulation on tested in the green-house. The inoculants for soybean and peanut however are valid only for 3 months. Field tests have been carried out in farming plots. The results have revealed that, there was an increase, on the average, of 14-35 per cent over the uninoculated treatment.สาระสังเขป: การทดลองผลิตเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วขึ้นโรงงานนำทางนี้ ทำการทดสอบเกี่ยวกับตลาดและวิเคราะห์ตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตเชิงการค้า. การผลิตสามารถผลิตเต็มที่ได้ปีละ 24 ตัน ปริมาณเพียงพอในพื้นที่ 120,000 ไร่ (19,200 เฮดแตร์) ซึ่งมีปริมาณเพียงพอประมาณ 10% ของพื้นที่ที่รัฐบาลได้ตั้งเป้าหมายในการปลูกถั่วไว้ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981). จากการทดลองผลิตและทดลองใช้ผลิตภัณฑ์นี้ ปรากฏผลจากการทดลองว่า เชื้อแบคทีเรียปมรากเขียว เมื่อเก็บไว้ในอุณหภูมิ 10-15 องศาเซลเซียส และได้ทำการทดสอบทุกเดือนปรากฏว่าในเดือนที่ 5 ยังมีประสิทธิภาพดีอยู่ โดยทำให้ถั่วเกิดปมถึง 85%. สำหรับเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วเหลืองและถั่วลิสงสามารถเก็บและใช้ได้ดีในเวลาเพียง 3 เดือน เท่านั้น. การทดลองในภาคสนามได้ทำการทดลองในแปลงของกสิกร ผลปรากฏว่าสามารถเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยตั้งแต่ 14-35% สูงกว่าการไม่ใส่แบคทีเรีย.สาระสังเขป: จากการวิเคราะห์ในด้านการลงทุนและการเงินภายในระยะ 1-5 ปี พอจะสรุปได้ว่าการลงทุนในโครงการนี้ใช้เงินทุนทั้งสิ้นประมาณ 3,040,000 บาท เป็นเงินทุนในทรัพย์สินุาวร, เงินทุนหมุนเวียน และค่าใช้จ่ายก่อนดำเนินงาน. การลงทุนควรใช้เงินทุนของตนเอง การหาแหล่งเงินกู้ค่อนข้างยาก เพราะเป็นเงินทุนไม่มากนัก และเป็นอุตสาหกรรมใหม่ลักษณะกึ่งทดลอง. สำหรับต้นทุนในการผลิต นอกจากค่าวัตถุดิบแล้วยังรวมค่าใช้จ่ายอื่น ๆ คงที่อีกคือ ค่าแรงงานในการดำเนินงานทั่วไป, ค่าเสื่อมราคา และค่าซ่อมแซม. นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายในการจำหน่ายและค่าภาษีเงินได้. การผลิตสามารถผลิตได้ 24 ตันต่อปี แต่เนื่องจากตลาดยังจำกัด ได้ตั้งเป้าหมายการผลิตในปีที่ 1 และ 2 ปริมาณ 12 และ 18 ตันต่อปี ตามลำดับ. สำหรับในปีที่ 3, 4 และ 5 นั้น มีเป้าหมายในการผลิตปีละ 24 ตัน. ราคาที่ตั้งไว้ 50,000 บาท ต่อตันนั้น ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่า อัตราผลตอบแทนการลงทุนต่ำเกินไปคือ 9.45%. ควรขายในราคาไม่ต่ำกว่าตันละ 55,000 บาท จะทำให้ผลตอบแทนสูงขึ้นถึง 15.45%. จากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจากราคาขาย 50,000 บาท มีจุดคุ้มทุนในการผลิต 17.5 ตันต่อปี นับว่าเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นไปได้สำหรับประเทศไทย. อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์นี้ยังตลาดจำกัด จำเป็นจะต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพสำหรับอุตสาหกรรมชนิดใหม่นี้. - ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1981/609
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1981/609-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300