การพัฒนากรรมวิธีผลิตเยื่อเคมีจากบ่อแก้วแบบน้ำทิ้งไม่เป็นพิษ = oxygen pulping of kenaf and oxygen bleaching of kenaf pulp / Anchalee Kamolratanakul, Naiyana Niyomwan, Sirikalaya Suvachittanont

โดย: Kamolratanakul, Anchalee
ผู้แต่งร่วม: Niyomwan, Naiyana | Suvachittanont, Sirikalaya | อัญชลี กมลรัตนกุล | นัยนา นิยมวัน | ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division=Chemical Industry Department> Fibre Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 22-04 Rep. no. 4ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1983 รายละเอียดตัวเล่ม: 29 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนากรรมวิธีผลิตเยื่อเคมีจากบ่อแก้วแบบน้ำทิ้งไม่เป็นพิษหัวเรื่อง: Kenaf | Oxygen process | Pulp and paper industry | Pulping processสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The oxygen bleaching experiment was made on unbleached soda and sulphate kenaf pulp. The results indicate that the oxygen stage could replace conventional chlorination bleaching. The oxygen bleached pulp has comparable brightness and properties to that bleached by chlorine sequence. The optimum condition for oxygen stage bleaching was obtained at oxygen pressure 160 psi., temperature 130 degree celsius and 30 minutes bleaching time. The acid pretreatment by 2 per cent sulphuric acid solution at room temperature for 5 minutes satisfactorily improve brightness of the pulp. Authors.สาระสังเขป: The single stage soda-oxygen pulping of Thai kenaf stalk was investigated at constant alkali charge, temperature ranging from 120 to 150 degree celsius and oxygen pressure ranging from 0 to 140 psi. The results show that bright pulp could be obtained with moderate strength properties at oxygen pressure 140 psi and temperature levels of 130 to 140 degree celsius.สาระสังเขป: This report presents a preliminary study on the oxygen pulping of Thai kenaf and the oxygen bleaching of unbleached soda and sulphate kenaf pulp.สาระสังเขป: การศึกษาการฟอกเยื่อออกซิเจนจากเยื่อโซดาและซัฟเฟตไม่ฟอกที่ต้มจากต้นปอแก้ว พบว่าสภาวะการฟอกเยื่อออกซิเจนที่สามารถผลิตเยื่อฟอกที่มีความขาวสว่างและคุณภาพทัดเทียมกับเยื่อฟอกด้วยการคลอริเนชั่น ซึ่งเป็นกรรมวิธีที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน คือ ระดับความดันก๊าซออกซิเจน 160 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว, อุณหภูมิ 130 องศาเซลเซียส และเวลาในการฟอก 30 นาที. การแช่กรดก่อนฟอกด้วยสารละลายกรดกำมะถันร้อยละ 2 ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 5 นาที จะช่วยเพิ่มความขาวสว่างขึ้นอีกเป็นอันมาก.สาระสังเขป: ผลการศึกษาในการต้มเยื่อออกซิเจนด้วยการต้มขั้นเดียวจากต้นปอแก้วไทย โดยการทดลองต้มด้วยปริมาณสารเคมีคงที่ ระดับอุณหภูมิตั้งแต่ 120 ถึว 150 องศาเซลเซียส และระดับความดันก๊าซออกซิเจนตั้งแต่ 0 ถึง 140 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว, ปรากฏว่าเยื่ออกซิเจนมีสีอ่อน คุณภาพของเยื่ออยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง. สภาวะต้มเยื่อที่ให้เยื่อออกซิเจนที่มีความขาวสว่างและคุณภาพทางกายภาพอยู่ในระดับสูง คือ ที่ระดับความดันก๊าซออกซิเจน 140 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และอุณหภูมิ 130 ถึง 140 องศาเซลเซียส.สาระสังเขป: รายงานนี้เสนอผลการศึกษาเบื้อต้นในการต้มเยื่อออกซิเจนจากปอแก้วไทยทั้งต้นและผลการศึกษาการฟอกเยื่อโซดา และซัฟเฟตปอแก้วด้วยออกซิเจน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1983/648
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1983/648-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1983/648-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300