การออกแบบกระบวนการผลิตสารสกัดจากสะเดาในระดับอุตสาหกรรมและการวิเคราะห์ด้านการเงิน = neem extracted substances in industrial scale production process design and financial analysis on process design of neem extraction for industrial scale / Srisak Trangwacharakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Asa, Narongdej | Auchariyamet, Suwit | Chanpongsri, Surapong | Lehduwi, Narisa | Nuneyai, Torsak | Pimpinij, Anan | Prohmsuwan, Sophon | Sartpech, Chitta | Sithisam-ang, Damrongchai | Suwanagul, Anawat | Thutprom, Chaichana | Trangwacharakul, Srisak | นริศา เหละดุหวิ | สุรพงษ์ จันทร์ผ่องศรี | ศรีศักดิ์ ตรังวัชรกุล | ชัยชนะ ทัตพรหม | ต่อศักดิ์ นวลใย | โสภณ พรหมสุวรรณ | อนันต์ พิมพินิจ | ศาสตร์เพชร, จิตรา | ดำรงชัย สิทธิสำอางค์ | อนวัช สุวรรณกุล | อัจริยาเมต, สุวิทย์ | ณรงค์เดช อาษา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 41-03, Sub. Proj. no.2 ; Rep. no. 1(PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2001 รายละเอียดตัวเล่ม: 118 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การออกแบบกระบวนการผลิตสารสกัดจากสะเดาในระดับอุตสาหกรรมและการวิเคราะห์ด้านการเงินหัวเรื่อง: Azadirachtin | Medicinal plants | Neem | Neem extraction | Sa-dao | สะเดา | อะซาดิแรคตินสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Part 1 - Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) has succeeded in setting up a neem extraction pilot plant. Dry neem fruit is mainly used as raw material throughout the year, since fresh neem fruit can only be fed to the plant during a short harvesting season in April and May. In order to extract azadirachtin (aza) solution, dry neem fruit is abraded by an abrasive machine to separate neem skin and pulp. This abrasive machine can abrade 10.5-14 kg of dry neem fruit per hour, and yields 63 percent of neem seed. The seed is then put through TISTR's designed and built neem cracking machine in order to crack the shell and separate the kernel.สาระสังเขป: TISTR's neem cracking machine is composed of hopper, screw feeder, cracker, separator with blower, double and single cyclone and neem odor absorber. This prototype cracking machine has a capacity to crack 60 kg of neem seed per minute which yields about 46 percent of kernel and 54 percent of shell. The neem kernel is ground by a grinding machine at the rate of 50 kg per hour. The kernel cake from the grinding machine is then fed to an oil extractor. Neem oil is extracted by hexane solvent in ratio of kernel : hexane as 1:5 or 50 kg of kernel to 250 1 of hexane. The miscella can be recovered by TISTR's recovery machine at 79 1/hr and pure hexane is obtained. The oil extraction time does not exceed 30 minutes. The oil free kernel cake is then extracted in ethyl alcohol with the ratio of kernel : alcohol as 1:11 or 50 kg of kernel to 550 1 of alcohol. The aza extraction time is only two hours and aza concentrated solution of about 0.108 mg/ml is obtained. This solution may be adjusted to the final concentration by using TISTR's solvent recovery machine which can distil alcohol from aza solution at 89 1/hr and the final aza concentration product is 0.221 mg/ml. AuthorsReview: In another case, where an investor has a loan of 100% of total investment cost, the project will make the internal rate of return (IRR) at 46.67% and the payback period of 2.72 years.Review: In the case of an investor who has a loan of about 50% of the total investment cost, the project will make the internal rate of return (IRR) at 69.19% and the payback period of 2.12 years.Review: Part 2 - The total investment costs of this project including the expenses of land, building, machineries and utilities system are 12.66 million baht. The full capacity level of production is 267,000 litres per year with the total production cost of 119.34 baht per litre and the whole sale price at factory is 150 baht per litre, while the quantity sold is about 40.28 million baht per year.Review: The results show that the project is feasible due to the IRR of both cases covering the cost to the financial or marginal loan rate (10%). - Authors.Review: ในด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ถ้าผู้ลงทุนทำการลงทุนด้สนเงินทุนของตนเองทั้งหมด โครงการนี้จะให้อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ (IRR) ตลอดอายุโครงการ 5 ปี เฉลี่ยนร้อยละ 46.67 มีระยะเวลาคืนทุน 2.72 ปี และถ้าผู้ลงทุนสามารถหาแหล่งเงินกู้ได้เป็นจำนวน 50% ของเงินลงทุนรวม ผู้ลงทุนจะมีอัตราผลตอบแทนร้อยละ 69.19, มีระยะเงลาคืนทุน 2.12 ปี ซึ่งจะเห็นได้ว่าอัตราผลตอบแทนทั้งสองกรณีข้างต้นเป็นอัตราสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาว คือ ร้อยละ 10 ต่อปี แสดงว่าโครงการนี้คุ้มกับการลงทุน.Review: ในส่วนของสารละลายเฮกเซนซึ่งประกอบด้วยสารละลายของเฮกเซนและน้ำมันสกัดจากสะเดาที่มีปริมาณน้ำมันร้อยละ 34 เมื่อนำไปเข้ากระบวนการกลั่นเพื่อนำสารละลายกลับมาใช้ซ้ำ (solvent recovery) ด้วยเครื่องก็จะได้เฮกเซนกลั่นกลับมาใช้ได้อีกในอัตรา 79 ลิตร/ชม. - ผู้แต่ง.Review: บทที่ 1 - สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ประสบความสำเร็จในการจัดตั้งโรงงานต้นแบบสกัดสารจากสะเดา, วัตถุดิบที่ใช้ คือ สะเดาแห้งเเป็นหลัก. ส่วนของสะเดาสดนั้นจะสามารถเข้าโรงงานสกัดในฤดูการเก็บเกี่ยวในระยะสั้น คือ ประมาณเดือนเมษายน และเดือนพฤษภาคมเท่านั้น. ดังนั้นการผลิตสารสกัดจากสะเดาในเดือนอื่นๆ จึงเป็นการผลิตสารสกัดโดยการใช้เมล็ดสะเดาแห้งเป็นหลัก ในการสกัดสารสกัด aza จากสะเดาเริ่มจากการนำวัตถุดิบ คือ สะเดาแห้ง ซึ่งควรเก็บในห้องเย็นควบคุมความชื้นได้ นำมาสีเพื่อให้เนื้อหลุดจากเมล็ด. เครื่องสีที่ใช้ในโรงงานต้นแบบมีกำลังการสีเมล็ดสะเดาแห้ง 3.5 กก./ครั้งๆ ละ ประมาณ 15-20 นาที. ในการสีเนื้อออกจากเมล็ดจะได้เมล็ดจำนวนร้อยละ 63, เมล็ดที่ผ่านการสีนำไปกะเทาะและแยกเปลือกเมล็ดและเนื้อในเมล็ด (kernel) ออกจากกันด้วยเครื่องกะเทาะของ วท. ส่วนประกอบเครื่องกะเทาะ วท.ประกอบด้วย ช่องป้อนเมล็ดสะเดา, สกรูป้อนและมอเตอร์, อุปกรณ์กะเทาะ, อุปกรณ์แยกเปลือกเมล็ดและเนื้อในเมล็ด (kernal) พร้อมพัดลมไซโคลนคู่ 2 ขั้นตอน, และอุปกรณ์กำจัดกลิ่นสะเดา (absorber). อัตราการกะเทาะของเครื่องสามารถกะเทาะเมล็ดสะเดาในอัตรา 60 กก.ต่อชม. ผลที่ได้จากการกะเทาะจะได้เนื้อในเมล็ด ร้อยละ 46 และเปลือกเมล็ดร้อยละ 54. เนื้อในเมล็ดนำไปบดด้วยเครื่องบดอัด กำลังการบดของเครื่อง 50 กก./ชม. และเมื่อผ่านการบดอัด และการนำไปสกัดน้ำมันออกจากเนื้อในเมล็ดด้วยเครื่องสกัดสารของ วท. กำลังการสกัดน้ำมันออกจากเนื้อในเมล็ดต้องใช้เนื้อในเมล็ดสูงสุด 50 กก./ครั้ง. ปริมาณเฮกเซนที่ใช้ : น้ำหนักเนื้อในเมล็ด 5:1 ระยะเวลาในการแช่เฮกเซนไม่เกิน 30 นาที. ภายหลังจากการสกัดน้ำมันออกจากกากเนื้อในเมล็ดแล้ว เปิดลมไล่เฮกเซนออกจากเนื้อในเมล็ด. นำเนื้อในเมล็ดที่ผ่านการสกัดน้ำมันแล้วไปแช่ในแอลกอฮอล์ ในอัตราส่วนของ 95% แอลกอฮอล์ : น้ำหนักเนื้อในเมล็ดสะเดาเท่ากับ 11:1 คือใช้แอลกอฮอล์ 550 ลิตร เนื้อในเมล็ด 50 กก. ระยะเวลาการแช่ 2 ชั่วโมง จะได้สารสกัดอะซาดิแรคตินเข้มข้น 0.108 มก./มล. ถ้านำสารสกัดอะซาดิแรคตินเข้มข้น 0.1243 มก./มล. ไปปรับความเข้มข้นด้วยเครื่องระเหยกลั่นตัวทำละลายเพื่อนำกลับมาใช้ซ้ำของ วท. จะสามารถระเหยแยกแอลกอฮอล์จากสารสกัดในอัตรา 89 ลิตร/ชม. ได้สารสกัดมีความเข้มข้น aza 0.221 มก./มล.Review: บทที่ 2 - โครงการนี้ใช้เงินลงทุนทั้งสิ้นประมาณ 12.66 ล้านบาท, ในจำนวนนี้เป็นเงินลงทุนที่ประกอบด้วย ที่ดิน, อาคารโรงงาน, เครื่องจักร, ระบบไฟฟ้าและระบบไอน้ำ ณ ระดับการผลิตเต็มที่มีต้นทุนการผลิตรวมต่อลิตร เท่ากับบิตรละ 119.34 บาท. และถ้าโครงการสามารถขายสารสกัดจากสะเดาทั้งหมดที่ผลิตได้ คือ ปีละ 267,000 ลิตร ณ ราคาหน้าโรงงานในราคา ลิตรละ 150 บาท ก็จะทำให้โครงการมีรายได้จากการขายปีละ 40.28 ล้านบาท.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2001/1149
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2001/1149-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300