การคัดเลือกและเปรียบเทียบพันธุ์มินต์ = mint varietal trial and selection / Songkiat Visuttipitakul, Somsak Chaimongkol

โดย: Visuttipitakul, Songkiat
ผู้แต่งร่วม: Chaimongkol, Somsak | สมศักดิ์ ไชยมงคล | ทรงเกียรติ วิสุทธิพิทักษ์กุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Prmme. no. 62, Res. Proj. no. 62/2 ; Rep. no. 13ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 16 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การคัดเลือกและเปรียบเทียบพันธุ์มินต์หัวเรื่อง: Mintสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Although the Unknown No.1 gave the highest herbage yield, the Ryokubi is still the most suitable variety to be grown commercially, under present economic conditions of Thailand. Authorsสาระสังเขป: In 1976 at Nan Province, four recently introduced Japanese mint varieties, Hoyo, Wesenami, Unknown No.1 and Unknown No.2, were tested as to compare with the high yielding and commercially grown variety-Ryokubi. The results showed that different varieties gave high yield of different forms. Although the Unknown No.1 gave the highest average yields of 2,325 and 468 kg/rai as fresh and dry herbages for the first harvest, and 3,358 and 735 kg/rai for the second, the Ryokubi yielded the highest oil concentration. The highest total oil content of 22 kg/rai was obtained from the Ryokubi.สาระสังเขป: แต่เมื่อพิจารณาถึงเปอร์เซ็นต์และปริมาณน้ำมันกลับปรากฏว่า มินต์พันธุ์ ส.ว.ๅ ให้เปอร์เซ็นต์และปริมาณน้ำมันสูงสุด, โดยให้เปอร์เซ็นต์น้ำมันจากการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เฉลี่ยน 0.66 และ 0.54 กก.ต่อไร่ และให้ปริมาณน้ำมัน 8.07 และ 13.93 กก.ต่อไร่ ตามลำดับ.สาระสังเขป: ได้ทดลองปลูกมินต์ญี่ปุ่น (Mentha arvensis var piperascens) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลผลิตทั้งน้ำหนักสด, น้ำหนักแห้ง, เปอร์เซ็นต์ และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้ต่อหน่วยพื้นที่จำนวน 5 พันธุ์ คือ ส.ว.1, Hoyo, Wesenami, พันธุ์ต้นตั้งใบใหญ่ และพันธุ์ต้นเลื่อยใบเล็ก. ผลการทดลองจากการเก็บเกี่ยวทั้งสองครั้งปรากฏว่า มินต์พันธุ์ต้นตั้งใบใหญ่ให้ผลผลิตทั้งน้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งสูงสุด, โดยให้น้ำหนักสด 2,325, 3,358 กก.ต่อไร่ และน้ำหนักแห้ง 468 และ 735 กก.ต่อไร่ จากการเก็บเกี่ยวครั้งที่หนึ่งและสองตามลำดับ.สาระสังเขป: ผลจากการทดลองยังชี้ให้เห็นต่อไปว่า มินต์พันธุ์ ส.ว.1 ยังคงสมควรที่จะใช้ปลูกเป็นการค้าต่อไป, ทั้งนี้เพราะว่าแม้พันธุ์ Wesenami จะให้ผลผลิตสูง แต่รายได้ของกสิกรจากการจำหน่ายน้ำหนักสด อาจจะไม่สูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกมินต์พันธุ์ ส.ว.1. สาเหตุดังกล่าวเนื่องจากเปอร์เซ็นต์น้ำมันของพันธุ์ Wesenami ต่ำ ทางโรงงานสกัดน้ำมันมินต์อาจไม่ซื้อน้ำหนักสดของพันธุ์ดังกล่าวในราคาเท่ากับพันธุ์ ส.ว.1. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1978/480
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1978/480-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300