การทดสอบคุณสมบัติทางกลของตัวอย่างโลหะที่กัดกร่อนในบรรยากาศ = mechanical testing of metals exposed in the atmosphere / Soravuth Judabong, Prachun On-puckdee

โดย: Judabong, Soravuth
ผู้แต่งร่วม: Onpuckdee, Prachun | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Metals and Material Technology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 32-07 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1992 รายละเอียดตัวเล่ม: 34 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การทดสอบคุณสมบัติทางกลของตัวอย่างโลหะที่กัดกร่อนในบรรยากาศหัวเรื่อง: Aluminium | Atmospheric corrosion | Copper | Corrosion and anti-corrosives | Elongation | Galvanized steels | Mechanical testing | Metals | Stainless steels | Steel | Tensile strengthสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The mechanical properties of various metals exposed in different environments in Thailand for 1-3 years were studied. There were eight kinds of metals namely aluminium, copper, mild steel, automobile body steel, stainless steel 304, stainless steel 316, hot-dipped galvanized steel and electroplating galvanized steel. The exposure environments included urban, rural, marine and industrial areas. Tensile strength of aluminium, mild steel, automobile body steel and electroplating galvanized steel decreased by 40 percent, while hot-dipped galvanized steel and stainless steel 316 decreased by 5-20 percent, and copper and stainless steel 304 decreased by 2-10 percent. The decreases in elongation of the samples were as follows : 15-85 percent for aluminium, mild steel and automobile-body steel; 4-40 percent for copper and electroplating galvanized steel; 10-30 percent for stainless steel 316; and 2-15 percent for stainless steel 304 Authorsสาระสังเขป: ได้ทดสอบความต้านแรงดึงและความยืดของตัวอย่างโลหะ 8 ชนิด คือ อะลูมิเนียม, ทองแดง, เหล็กเหนียว, เหล็กทำตัวถังรถยนต์, เหล็กชุบสังกะสี โดยวิธีชุบในสังกะสีหลอมเหลว, เหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีชุบด้วยไฟฟ้า, เหล็กสเตนเลส 304 และเหล็กสเตนเลส 316 หลังจากนำไปติดตั้งในบรรยากาศต่างๆ ในประเทศไทยเป็นระยะเวลา 1-3 ปี, และเปรียบเทียบผลที่ได้กับผลทดสอบเดิมของตัวอย่างก่อนติดตั้ง. ผลที่ได้พบว่า ตัวอย่างโลหะมีความต้านแรงดึงและความยืดลดลง หลังจากติดตั้งไปแล้ว 3 ปี. โลหะที่มีความต้านแรงดึงลดลงมาก คือ อะลูมิเนียม, เหล็กเหนียว, เหล็กทำตัวถังรถยนต์ และเหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีชุบด้วยไฟฟ้า โดยความต้านแรงดึงลดลงจากเดิมคิดเป็นร้อยละมีค่าระหว่าง 10-40.ถัดมาคือ เหล็กชุบสังกะสี โดยวิธีชุบในสังกะสีหลอมเหลว และเหล็กสเตนเลส 316 มีความต้านแรงดึงลดลงระหว่างร้อยละ 5-20. ทองแดงและเหล็กสเตนเลส 304 มีความต้านแรงดึงลดลงระหว่างร้อยละ 2-10. โลหะที่มีความยืดลดลงมากคือ อะลูมิเนียม, เหล็กเหนียว, เหล็กทำตัวถังรถยนต์ โดยความยืดลดลงจากเดิมคิดเป็นร้อยละ มีค่าระหว่าง 15-85. ทองแดงและเหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีชุบด้วยไฟฟ้า มีความยืดลดลงคิดเป็นร้อยละ 4-40. เหล็กสเตนเลส 316 และเหล็กสเตนเลส 304 มีความยืดลดลงระหว่างร้อยละ 10-30 และ 2-15 ตามลำดับ. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1992/908
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1992/908-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300